1.ชนิดของวัสดุที่ใช้จัดเก็บ.
ให้ดูในเรื่องของ Warehousing ในเรื่องการจัดประเภท.
2.เลือกชนิดของชั้นวางให้เหมาะกับวัสดุแต่ละประเภท.
2.1 High Density Binning
2.2 Shelving
2.3 Carton Live Storage
3.รูปแบบการจัดวางของชั้นวาง ให้พิจารณาเรื่อง
ทิศทางการเคลื่อนไหวของวัสดุ(Flow) ความสามารถในการเข้าถึงอะไหล่(Accessibility) พื้นที่จัดเก็บ (Space) ปริมาณงานที่ทำในช่วงเวลาหนึ่ง(Throughput).
มีหลายคลังสินค้าที่ไม่ได้คำนึงถึงการไหลของวัสดุส่ง โดยเฉพาะเมื่อมีการไหลของวัสดุจำนวนมากจะเห็นได้ชัดว่ามีปัญหา และยากในการแก้ไขเพราะเป็นเรื่องของโครงสร้างอาคารและชั้นที่ได้รับการติดตั้งแล้ว ผลกระทบจากการไหลของวัสดุมีดังนี้
1.ความเร็วในการทำงาน.
2.ความปลอดภัย.
3.เกิดความสับสนในการทำงาน.
การจัดชั้นวางวัสดุตามหลักการใหลของวัสดุ
I Shaped Flow
อีกหนึ่งรูปแบบสำหรับ I Shaped Flow
U Shaped Flow
Combination or Complex Flows ผสมกันระหว่าง I และ U Shaped Flow
4.การกำหนดรหัสการจัดเก็บ.
x.xx.xx.xx.x
x พื้นที่การจัดเก็บ (Location Area) สำหรับโรงงานที่มีการอาคารจัดเก็บมากกว่า 1.
xx รหัสของชั้นว่าง หรือ ช่องทางระหว่างแถว (Aisle reference)
xx รหัสของแถว
xx รหัสของคอลัมน์
x รหัสย่อยของแถว
หมายเลขที่กำกับตามรูปเป็นเลขคี่หรือเรียงลำดับตามหมายเลขหรือเปลียนเป็นตัวอักษรก็ได้ ให้ดูเรื่อง Pick Tail.
ข้อสังเกตุ
ในส่วนของรหัสพื้นที่กับรหัสชั้นวางนั้นให้กำหนดเป็นตัวเลขเพราะเมื่อจัดเรียงในระบบคอมพิวเตอร์จะเรียงลำดับได้ถูกต้อง ซึ่งจะถูกนำไปใช้ในเรื่องการนับสินค้าคงคลังประจำปี
Copyright © 2014 All rights reserved.
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น